Connect with us

Hi, what are you looking for?

Other News

แปลงโฉมเคสคอมพิวเตอร์ PC ธรรมดาให้กลายเป็นยาน Star Destroyer จากภาพยนตร์ Star Wars

การแปลงโฉมเคสคอมพิวเตอร์ให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ทำให้ PC ของเราโดดเด่นสะดุดตาคนอื่นและเป็นการ

การแปลงโฉมเคสคอมพิวเตอร์ให้เป็นรูปร่างต่าง ๆ ก็เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ทำให้ PC ของเราโดดเด่นสะดุดตาคนอื่นและเป็นการบ่งบอกตัวตนของเราอีกด้วยและดูเหมือนว่าจะมีชายหนุ่มคนหนึ่งจะคลั่งไคล้ภาพยนตร์เรื่อง Star Wars เป็นพิเศษเพราะขาได้ประกอบเคส PC เป็นยาน Star Destroyer ของฝั่งจักรวรรดิสุดอลังการขึ้นมาครับ

Advertisement

jabl8fbanbc8kqqp05s0

ผลงานชิ้นนี้เป็นของนาย Sander van der Velden ที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นมาโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำเคสตัวนี้ไปโชว์ในงาน CES 2016 และเคสที่จะจะสร้างขึ้นมาก็ลงเอยที่ยาน Star Destroyer ซึ่งเป็นยานรบของฝ่ายจักรวรรดิในภาพยนตร์ Star Wars นั่นเอง ซึ่งวิธีการทำจัดว่าละเอียดมากตั้งแต่การขึ้นโมเดลผ่านโปรแกรมและปริ้นท์แบบออกมาโดยใช้เครื่องปริ้นท์ 3D จากนั้นก็เสริมวัสดุหลักด้วยอลูมิเนียมและที่พิเศษกว่านั้นคือตัวยานของเขามีไฟส่องแสงออกมาอีกต่างหาก

mujyfofgcmrjrlpgvch3

จากที่เห็นถือว่าเป็นงานที่ละเอียดสุด ๆ เพราะมีการใส่ใจถึงลวดลายภายในยานที่น้อยคนนักจะสังเกตุเห็นด้วย ส่วนสเปคที่เขาใช้กับเคสตัวนี้ก็จะใช้บริการเมนบอร์ดจาก MSI พร้อมกับระบบ Cooling System ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ครับ

  • Mainboard: MSI B150m Mortar matx board
  • Graphics Card: MSI 780TI Lightning (Only 12 made specifically for overclocking)
  • RAM : Avexir Blitz 1.1 32GB DDR4 3000MHz – White
  • Processor: Intel Core i5 6600K 4x 3.50GHz
  • SSD(s): TBD
  • Power Supply: Thermaltake toughpower DPS G 850W Platinum
  • CPU Cooler: Thermaltake Pacific W1 CPU Water Block
  • GPU Cooler: Custom GPU Block by Diamond Cooling
  • Coolant PUMP: Thermaltake Pacific P1 Black D5 Pump w/ Silent Kit
  • Radiator: 480 40mm high
  • Fittings: Thermaltake Pacific G1/4 – Black
  • Coolant: TBD
  • Reservoirs 2x: ModWithMe 50mm Tube Reservoirs with custom 3d printed Venator Engine cover
  • Tubing: Thermaltake PETG 16mm OD tubing
  • Laser Array: 8 fat green 5mw lasers
  • Lights: 0.5mm fiberoptic strands
  • Laser/Light Control: Arduino programmable micro processor

นับว่า Star Destroyer ลำนี้พกพาความแรงมาเต็มพิกัดเลยทีเดียวครับและถ้าอยากดูรายละเอียดการสร้างเคสนี้เพิ่มเติมก็เข้าไปดูได้ ที่นี่ เลยครับ

dpynlop5imwr2kjvl2fa

fekeeemwu3lsuavss7qo

omzeiizrfb2agvk7hiwr

h1lkgqxufcelvxvlwitq

sv4xjzfmnubbfc9a1ynn

wg8hyf1mmfi5grqtrmrn

ที่มา : Kotaku

Click to comment
Advertisement

บทความน่าสนใจ

CONTENT

เรื่องของหน่วยความจำหลัก นอกจากแรมที่อยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งทำงานร่วมกับอุปกรณ์อื่น เช่น CPU, SSD/HDD และการ์ดจอแล้ว ในฮาร์ดแวร์อื่นก็ย่อมมีหน่วยความจำแรมของตัวเองเช่นกัน อย่างฝั่งของการ์ดจอที่จำเป็นต้องมีไว้ใช้ทำงานร่วมกับ GPU โดยจะใช้แรมเป็นแบบ GDDR ที่ต่างจากแรม DDR ทั่วไปเล็กน้อย ซึ่งล่าสุดก็มีข่าวของแรมการ์ดจอมาตรฐานใหม่ออกมาอีกแล้ว นั่นคือแรม GDDR7 ที่เป็นไปได้ว่าอาจจะเริ่มลงมาอยู่ในการ์ดจออย่างเร็วสุดภายในปี 2024 นี้เลย เรามาเจาะรายละเอียดเท่าที่มีออกมาในขณะนี้กันครับ เพื่อดูว่าแรมแบบใหม่นี้จะดีกว่าเดิมอย่างไร ขนาดไหน...

CONTENT

Windows รุ่นต่อไป อาจต้องเริ่มต้นแรม 16GB เป็นมาตรฐาน จำเป็นมั้ย คอมเก่าไหวรึเปล่า? ระบบปฏิบัติการ (OS) มีการพัฒนาความสามารถอยู่ต่อเนื่อง ในการจะไปสู่ Windows ใหม่แต่ละรุ่นก็มักจะต้องการความสามารถของฮาร์ดแวร์ที่สูงขึ้นด้วย เพื่อให้รองรับรูปแบบการทำงานใหม่ๆ ได้ดี เช่น แรม (RAM) ซึ่งจุดที่มักเห็นชัดและสังเกตง่ายสุดก็คือแรม ที่จะอยู่ในหนึ่งข้อจำกัดด้านความต้องการของแต่ละซอฟต์แวร์และ OS อยู่เสมอ ล่าสุดก็มีข่าวลือออกมาว่า Microsoft...

CONTENT

FlexRAM ยุคใหม่วงการแรม ยืดหยุ่น เร็ว ใส่ได้ทุกอุปกรณ์ เก็บข้อมูลได้นานกว่า หนึ่งในฮาร์ดแวร์ที่เป็นส่วนสำคัญมากของระบบคอมพิวเตอร์ก็คือ แรมหรือหน่วยความจำ ที่ระบบจะใช้เก็บข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลมาแล้ว หรือใช้พักข้อมูลก่อนที่จะส่งไปใช้งานในส่วนต่างๆ ล่าสุดมีข่าวเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมสำหรับแรมออกมาแล้ว นั่นก็คือ FlexRAM ที่ในบทความนี้เราจะมาลองทำความรู้จักกัน เพราะนี่อาจเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ออกสู่วงกว้างได้ในอนาคต และอาจจะมาแก้จุดด้อยของแรมที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันได้หลายด้านอีกด้วย แรมของระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงในอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องมีแรมในปัจจุบัน ปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบชิปที่ติดตั้งอยู่บนแผงวงจรอีกที ทำให้เรื่องขนาดของชิปแรมและฮาร์ดแวร์เอง ก็เป็นส่วนหนึ่งในข้อจำกัดการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะกับพวกอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก...

CONTENT

เมื่อหลายปีก่อน การเพิ่มแรมในโน้ตบุ๊กแทบจะเป็นการอัปเกรดเครื่องยอดฮิต เนื่องจากยังใช้แรมแบบเป็นแท่งที่มีชื่อเรียกมาตรฐานว่าเป็นแบบ SODIMM ที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ง่าย แต่ต่อมาผู้ผลิตหลายรายก็หันไปใช้แรมแบบเป็นชิปติดกับเมนบอร์ดมาเลย ด้วยข้อดีเรื่องของความง่ายในการออกแบบบอร์ด ทั้งยังทำให้เครื่องบางเบาลง ความเร็วก็สูงกว่า แต่แลกมาด้วยการที่ผู้ใช้แทบจะอัปแรมเพิ่มไม่ได้เลย ถ้าไม่ใช่พวกเกมมิ่งโน้ตบุ๊ก หรือเครื่องที่มีความหนาขึ้นมาหน่อย แต่ล่าสุดเราก็อาจจะได้ใช้แรมแบบใหม่ นั่นคือ LPCAMM2 ที่ผสานข้อดีของทั้งแรมแบบ SODIMM และแรมแบบฝังบอร์ดไว้ด้วยกันนั่นเอง Advertisement แรม LPCAMM2 คืออะไร ต่างจากเดิมอย่างไร เริ่มจาก...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

บันทึก