Connect with us

Hi, what are you looking for?

Gaming Notebook

รวมสถิติ Malware ในปี 2011 ประเทศไทยเป็นอันดับ 2 ของโลกที่โดน Malware เยอะที่สุด

ปี 2011 นั้นมีการบันทึกสถิติกันอย่างมากมายว่ามี Malware กว่า 26 ล้านตัวถูกจับโดย Panda Labs

ปี 2011 นั้นมีการบันทึกสถิติกันอย่างมากมายว่ามี Malware กว่า 26 ล้านตัวถูกจับโดย Panda Labs

malwarechart

Advertisement

โดยประเภทแรก ๆ ของ Malware ที่ถูกตรวจจับพบเจอมากที่สุดนั้นเป็น Trojans ซึ่งคิดเป็น 73.31% ของทั้งหมด ลองมาเป็น Virus Computer 14.24% และ Worms 8.13% ที่เหลือก็เป็นพวก Spyware และ อื่น ๆ อีกจำนวนหนึ่ง

อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าดูจากสถิติตัวเลขแล้วจำนวน Malware นั้นจะมากมายมหาศาล แต่เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าแล้วมันลดลงถึง 4%

และสถิติที่น่ากลัวไปกว่านั้นคือประเทศไทยเราเป็นประเทศอันดับที่ 2 ของโลกที่มีคนโดน Malware เยอะที่สุด รองลงมาจากจีน โดยผู้ใช้ Internet ในประเทศไทยนั้น 56% โดน Malware นั้นหมายความกว่าคนมากกว่าครึ่งนึงของประเทศไทยนั้นได้โดน Malware เล่นงาน และเมื่อคิดออกมาเป็นรายคนนั้น คนไทย 1 คน มีโอกาศโดน Malware 38.49% เลยทีเดียวครับ

ด้วยเหตุนี้เองมันสามารถสรุปได้เลยนะครับว่า ประเทศไทยเราเป็นประเทศที่มีอัตราการใช้ Internet มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่บางทีบางครั้งยังขาดความรู้ในการป้องกันภัยร้ายบนโลกออนไลน์อย่างยิ่ง อีกอย่างผมมองว่า Software แท้ ๆ ในประเทศไทยนั้นยังใช้กันค่อนข้างน้อย ทำให้เกิดปัญหาเรื่อง Malware ที่ติดมาจากของผิดกฏหมายซะเยอะ

ที่มา :: vr-zone

Click to comment
Advertisement

บทความน่าสนใจ

Tips & Tricks

แนะนำวิธีเช็คเบอร์มิจฉาชีพ เช็คให้ชัวร์ก่อนรับสายเบอร์แปลกๆ อัพเดท 2024 ปัจจุบันการฉ้อโกง หลอกโอนเงิน 2024 ผ่านการปลอมแปลงตัวตนเป็นหน่วยงานต่างๆ แล้วโทรเข้ามาหรือส่งข้อความหาเรา หลอกให้เราโอนเงินให้ พบได้บ่อยและหลากหลายรูปแบบมากยิ่งขึ้น ทำให้มีคนที่ตกเป็นเหยื่อมากขึ้นทุกวัน แถมการตามจับตัวก็ทำได้ยากอีกด้วย ยิ่งสถานการณ์เป็นแบบนี้ การรับสายเบอร์แปลกจึงกลายเป็นเรื่องที่คนจำนวนมากระแวดระวัง ทีมงาน NotebookSPEC ก็ได้รวบรวมวิธีการเช็คเบอร์มิจฉาชีพ ตรรวจสอบเบอร์แปลกที่โทรเข้ามาหาเรา เช็คให้ชัวร์ก่อนรับสายหรือติดต่อทำธุรกรรมด้วย เพิ่มความปลอดภัยให้กับเรามากยิ่งขึ้น วิธีเช็คเบอร์มิจฉาชีพ ปลอดภัย ไม่โดนหลอกโอน...

CONTENT

Pegasus สปายแวร์ในรูปแบบโทรจันที่กำลังถูกพูดถึงมากขึ้นในไทยตอนนี้มีที่มาจากไหน เป้าหมายในการโจมตีเป็นใครและผู้ใช้ทั่วไปจะป้องกันตัวเองได้ด้วยวิธีไหนบ้าง วันนี้เราจะไขข้อข้องใจกัน ในช่วงนี้มีข้อมูลหนึ่งที่ถูกพูดถึงในไทยมากขึ้นอย่างสปายแวร์ที่มีชื่อว่า Pegasus โดยถึงแม้ว่าจะเป็นการพูดถึงในส่วนของวงการการเมือง แต่อันที่จริงแล้วนั้นเจ้าสปายแวร์ Pegasus นั้นสามารถที่จะถูกนำมาใช้งานได้จากผู้ประสงค์ร้ายทั้งหมด ดังนั้นถึงแม้ว่าจะเป็นผู้ใช้ทั่วไปอย่างเราๆ ท่านๆ เองนั้นก็ควรเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จักเพื่อป้องกันตัวเองจากสปายแวร์ในรูปแบบนี้ให้ดีก่อน ดังนั้นในวันนี้ทาง NotebookSpec จึงอยากขอแนะนำให้ทุกท่านได้รู้จักกับเจ้าสปายแวร์ตัวนี้กัน จะน่ากลัวมากน้อยแค่ไหนและจะต้องป้องกันอย่างไรนั้นไปติดตามกันได้เลย ต้นกำเนิดของสปายแวร์ Pegasus วิธีการทำงานของ Pegasus และพื้นที่ที่ถูกพบว่าใช้งาน การป้องกัน Pegasus...

Tips & Tricks

ทีมงานไปจะกระทู้ในพันทิพมาเห็นว่าน่าสนใจดี และเชื่อว่าเป็นคำถามที่หลายท่านสงสัยกันนักว่าแม้จะเป็นพีซีหรือโน๊ตบุ๊คเครื่องใหม่ แต่เมื่อใช้งานไปสักพักราว 1-2 ปี เครื่องก็มักจะเกิดอาการหน่วงหรือช้าลงอย่างชัดเจน ซึ่งมันเกิดจากอะไร และสามารถแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้างนะ Advertisement ก่อนอื่นเราต้องแบ่งประเด็นกันก่อน เพราะหลักๆพีซีทำงานด้วยองค์ประกอบ 2 ส่วนหลักๆเลยคือ ฮาร์ดแวร์ และซอฟแวร์ ซึ่งปัญหาหลักๆมันก็มักจะมาจาก 2 ส่วนนี้ละครับ ซึ่งมีโอกาสที่ทำให้เครื่องช้าลงได้ทั้ง 1. Hardware คอมพิวเตอร์มีการเสื่อมไปตามการเวลาจากความร้อน คอมเครื่องนึงปกติเปิดใช้งาน 9...

Tips & Tricks

ปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกวันนี้อินเทอร์เน็ตมีผลต่อเราทุกคนเป็นอย่างมาก ซึ่งการที่แทบทุกคนเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้นั้น ก็เป็นความสะดวกสำหรับการติดต่อสื่อสารถึงกัน แต่อีกทางหนึ่งก็อาจเป็นปัญหาเรื่องการคุกคาม รวมไปถึงการโจรกรรมข้อมูลของเราเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในทางไม่ดีได้เช่นกัน ซึ่งภัยคุกคามทั้งหลายทางไซเบอร์ก็มักไม่มีการเตือนล่วงหน้า รู้ตัวอีกทีเราก็ตกเป็นเหยื่อของมันเสียแล้ว ทีมงาน Notebookspec จึงได้นำ 7 เรื่องที่ควรทำเพื่อหลีกเลี่ยงภัยเงียบจากโลกไซเบอร์มาฝากกันตามลำดับดังนี้เลยAdvertisement 1. ควรติดตั้งซอฟท์แวร์หรือแอปพลิเคชันที่ถูกลิขสิทธิ์ หรือจากเว็บไซต์ที่แจกโปรแกรมฟรีที่น่าเชื่อถือ และไม่ควรใช้ซอฟท์แวร์ปลอมหรือแอปพลิเคชันที่ไม่น่าเชื่อถือ เพื่อการป้องกันและหลีกเลี่ยงไวรัสหรือมัลแวร์ที่อาจแฝงเข้ามากับโปรแกรม   2. ตั้งรหัสผ่านการใช้อินเทอร์เน็ตบ่อย ๆ ทั้ง Wi-Fi หรือ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

บันทึก