Connect with us

Hi, what are you looking for?

PC Zone

[PC] จัดสเปคคอมเล่นเกม Garena , Point Blank , Fifa Online 3 ในงบ 8,600 บาท

สเปคคอมสำหรับเล่นเกมราคาถูกๆ ใครก็ต้องการกัน บทความนี้ AdminBIG เลยได้หยิบยกเอาหนึ่งสเปคที่น่าสนใจสำหรับเล่นเกม

สเปคคอมสำหรับเล่นเกมราคาถูกๆ ใครก็ต้องการกัน บทความนี้ AdminBIG เลยได้หยิบยกเอาหนึ่งสเปคที่น่าสนใจสำหรับเล่นเกม Garena อย่าง Point Blank และ Fifa Online 3 แบบพอไปวัดไปวาได้ในงบประมาณ 8,600 บาท มาให้เพื่อนๆ ได้ชมกัน

 

Advertisement

screenshot_1

 

สเปคคอมเล่นเกม Garena , Point Blank , Fifa Online 3 ในงบ 8,600 บาท 

โดยสเปคดังกล่าวเป็นสเปคที่ยังไม่รวมจอ และอุปกรณอื่นๆ เช่นเมาส์ คีย์บอร์ดลำโพงนะครับ ที่นอกเหนือจากเกม Garena อย่าง Point Blank และ Fifa Online 3 ยังเล่นเกมเบาๆ อย่างเกมเพชร เกมงู เกมยิงไข่ บีชเฮช หรือเกมจำพวก Puzzle เกม House ต่างๆ ได้ด้วย

CPU : INTEL Pentium G4400 – 1,990 บาท

  • เป็นหนึ่งในหน่วยประมวลผลราคาคุ้มค่าระดับเริ่มต้น แต่ประสิทธิภาพยังดีพอ สามารถขับเกมได้สบายๆ บนเทคโนโลยีการผลิตในแบบ Genneration 6 “Skylake” ที่แรงพอตัวในราคาชิวๆ บนการ์ดจอออนบอร์ดที่เล่นเกมเบาๆ ได้สบาย

MB : ASROCK H110M-DVS R2.0 – 1,990 บาท

  • เป็นเมนบอร์ดระดับเริ่มที่รองรับและเพียงพอต่อการใช้งานทุกประเภท มีราคาไม่สูงเกินไป ใช้งานได้ไม่แพ้เมนบอร์ดราคาแพงๆ เลย

RAM : KINGSTON DDR4 8GB 2133 – 1,420 บาท

  • แรมมาตรฐานเหมาะกับสเปคข้างต้น ช่วงส่งเสริมประสิทธิภาพให้ดียิ่งขึ้นไปอีกในการใช้งาน และเล่นเกม แถมยังมีราคาที่ไม่สูงจนเกินไป และเป็นแรมราคาประหยัด

HDD : Western Digital Blue 1TB WD10EZEX x 1 – 1,690 บาท

  • ที่เก็บข้อมูลมาตรฐานที่ใครๆ ก็ใช้กัน ในราคาที่ดีและความจุที่เยอะมาก

Case + PSU : PLENTY SUPER BLACK 3 + CUBIC Raptor (Black-Red)

  • ความน่าเชื่อถือทำได้ดีมากกว่า PSU แบรนด์ล่างๆ แบบ 550w ทีมีคุณภาพเพียงพอ สามารถเอาสเปคนี้อยู่ได้สบายๆ แถมยังเหลือให้อัพเกรดฮาร์ดแวร์ใส่เพิ่มเข้าไปได้อีกบ้าง ส่วนเคสเลือกใช้ CUBIC Rapto เพราะราคาทำได้ถูก

image

 

เป็นยังไงบ้างครับกับการจัดสเปคงบ Garena อย่าง Point Blank และ Fifa Online 3 แบบพอไปวัดไปวาได้ในงบประมาณ 8,600 บาท ถ้าเพื่อนๆ มีงบเหลือและอยากปรับแต่งหรือจัดสเปคเพิ่มเติมก็อย่าลืมมาจัดแล้วมาแชร์กันด้วยนะ ใส่การ์ดจออย่าง GTX950 หรือแม้แต่ RX460 อีกใบแจ่มจบเลยนะเนี่ย

Click to comment
Advertisement

บทความน่าสนใจ

CONTENT

Windows รุ่นต่อไป อาจต้องเริ่มต้นแรม 16GB เป็นมาตรฐาน จำเป็นมั้ย คอมเก่าไหวรึเปล่า? ระบบปฏิบัติการ (OS) มีการพัฒนาความสามารถอยู่ต่อเนื่อง ในการจะไปสู่ Windows ใหม่แต่ละรุ่นก็มักจะต้องการความสามารถของฮาร์ดแวร์ที่สูงขึ้นด้วย เพื่อให้รองรับรูปแบบการทำงานใหม่ๆ ได้ดี เช่น แรม (RAM) ซึ่งจุดที่มักเห็นชัดและสังเกตง่ายสุดก็คือแรม ที่จะอยู่ในหนึ่งข้อจำกัดด้านความต้องการของแต่ละซอฟต์แวร์และ OS อยู่เสมอ ล่าสุดก็มีข่าวลือออกมาว่า Microsoft...

CONTENT

FlexRAM ยุคใหม่วงการแรม ยืดหยุ่น เร็ว ใส่ได้ทุกอุปกรณ์ เก็บข้อมูลได้นานกว่า หนึ่งในฮาร์ดแวร์ที่เป็นส่วนสำคัญมากของระบบคอมพิวเตอร์ก็คือ แรมหรือหน่วยความจำ ที่ระบบจะใช้เก็บข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลมาแล้ว หรือใช้พักข้อมูลก่อนที่จะส่งไปใช้งานในส่วนต่างๆ ล่าสุดมีข่าวเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมสำหรับแรมออกมาแล้ว นั่นก็คือ FlexRAM ที่ในบทความนี้เราจะมาลองทำความรู้จักกัน เพราะนี่อาจเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ออกสู่วงกว้างได้ในอนาคต และอาจจะมาแก้จุดด้อยของแรมที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบันได้หลายด้านอีกด้วย แรมของระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงในอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ต้องมีแรมในปัจจุบัน ปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบชิปที่ติดตั้งอยู่บนแผงวงจรอีกที ทำให้เรื่องขนาดของชิปแรมและฮาร์ดแวร์เอง ก็เป็นส่วนหนึ่งในข้อจำกัดการออกแบบผลิตภัณฑ์ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะกับพวกอุปกรณ์ที่มีขนาดเล็ก...

CONTENT

เมื่อหลายปีก่อน การเพิ่มแรมในโน้ตบุ๊กแทบจะเป็นการอัปเกรดเครื่องยอดฮิต เนื่องจากยังใช้แรมแบบเป็นแท่งที่มีชื่อเรียกมาตรฐานว่าเป็นแบบ SODIMM ที่สามารถถอดเปลี่ยนได้ง่าย แต่ต่อมาผู้ผลิตหลายรายก็หันไปใช้แรมแบบเป็นชิปติดกับเมนบอร์ดมาเลย ด้วยข้อดีเรื่องของความง่ายในการออกแบบบอร์ด ทั้งยังทำให้เครื่องบางเบาลง ความเร็วก็สูงกว่า แต่แลกมาด้วยการที่ผู้ใช้แทบจะอัปแรมเพิ่มไม่ได้เลย ถ้าไม่ใช่พวกเกมมิ่งโน้ตบุ๊ก หรือเครื่องที่มีความหนาขึ้นมาหน่อย แต่ล่าสุดเราก็อาจจะได้ใช้แรมแบบใหม่ นั่นคือ LPCAMM2 ที่ผสานข้อดีของทั้งแรมแบบ SODIMM และแรมแบบฝังบอร์ดไว้ด้วยกันนั่นเอง Advertisement แรม LPCAMM2 คืออะไร ต่างจากเดิมอย่างไร เริ่มจาก...

CONTENT

หากพูดถึงฮาร์ดแวร์ในเคสของเครื่องพีซี หลายส่วนต่างก็ได้รับการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและอัปเกรดเพื่อเพิ่มความสามารถ บางชิ้นก็มีการลดขนาดของจุดเชื่อมต่อลง เช่น การเปลี่ยนซ็อกเก็ต CPU ในแต่ละช่วงปี การเปลี่ยนพอร์ตเชื่อมต่อสตอเรจจาก IDE ที่ใช้มาอย่างยาวนาน มาเหลือแค่หัว SATA เล็ก ๆ และในปัจจุบันก็มาเน้นที่ M.2 PCIe แทน เป็นต้น แต่สิ่งหนึ่งที่เราใช้งานกันมาอย่างยาวนาน แต่แทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงมานานกว่า 20 ปีก็คือหัวต่อสายไฟ...

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

บันทึก