เชิญแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้ านโรคหัวใจกว่า 90 คนจากหลากหลายประเทศทั่วโลกมาร่ วมอัพเดทเทคโนโลยีล่าสุดในการดู แลรักษาโรคหัวใจ พร้อมร่วมแชร์ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเทคนิ คการใช้เทคโนโลยีในการดูแลรั กษาผู้ป่วยโรคหัวใจ
มุ่งหาแนวทางการดูแลรักษาโรคหั วใจแห่งอนาคต เพื่อรับมือกับความท้ าทายในการดูแลรักษาผู้ป่วยที่ล่ าช้าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เสียงสะท้อนจากผลสำรวจล่าสุด Future Health Index (FHI) 2024
โซลูชันส์เพื่อการดูแลรั กษาโรคหัวใจแบบองค์รวม ตั้งแต่การตรวจวินิจฉัยโรคหั วใจแบบ 3 มิติ ไปจนถึงการศัลยกรรมผ่าตัดหั วใจแบบแผลขนาดเล็ก (Minimally Invasive Cardiac Surgery) เพื่อการรักษาที่มีประสิทธิ ภาพและทันท่วงที
กรุงเทพฯ, ประเทศไทย – รอยัล ฟิลิปส์ (NYSE: PHG, AEX: PHIA) ผู้นำด้านเทคโนโลยีเพื่อการดู แลสุขภาพระดับโลก ได้นำเสนอโซลูชั่นส์ในการดูแลรั กษาโรคหัวใจและหลอดเลือดล่าสุด เพื่อช่วยยกระดับการดูแลรักษาผู้ ป่วยให้มีประสิทธิภาพขึ้น ภายในงาน “Philips Interventional Symposium” งานประชุมสั มมนาประจำปีที่ฟิลิปส์จัดขึ้น โดยได้เชิญแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้ านโรคหัวใจมารวมตัวกันกว่า 90 คน จากหลากหลายประเทศทั่วโลก อาทิ สเปน อังกฤษ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย สิงคโปร์ ประเทศไทย และเวียดนาม มาร่วมอัพเดทเทคโนโลยีล่าสุ ดในการตรวจสวนหัวจและหลอดเลือด พร้อมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิ ดเห็นและแชร์ประสบการณ์การใช้ เทคโนโลยีในการดูแลรักษาผู้ป่ วยโรคหัวใจ เพื่อผลักดันและหาแนวทางการดู แลรักษาผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น ณ โรงแรมคอนราด กรุงเทพฯ
แพทย์หญิงคอนคอน โมลิน่า Head of Image Guided Therapy Systems ฟิลิปส์ เอเชีย-แปซิฟิก (APAC) กล่าวว่า “องค์การอนามั ยโลกระบุว่าโรคหัวใจและหลอดเลื อดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดั บต้นๆ ทั่วโลก และยังเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นอย่ างรวดเร็วในเอเชีย ส่งผลให้ความต้องการในการดูแลรั กษาโรคหัวใจเพิ่มมากขึ้น ฟิลิปส์ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว เราจึงมุ่งมั่นที่จะทำงานร่วมกั บผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดู แลรักษาโรคหัวใจ เพื่อนำเสนอโซลูชั่นส์ในการดู แลรักษาแบบองค์รวม ตั้งแต่การตรวจวินิจฉัย การรักษา ไปจนถึงการติดตามผลการรักษา เพื่อตอบสนองความต้องการของทั้ งบุคลากรทางการแพทย์และตัวผู้ป่ วยให้มากที่สุด และเพื่อผลการรักษาที่ดียิ่งขึ้ น โดยภายในงานประชุมฯ ครั้งนี้เราจะมีโอกาสได้รับฟั งความคิดเห็นและความต้ องการในกระบวนการทำงานของแพทย์ เพื่อนำไปต่อยอดพัฒนานวั ตกรรมของเราอีกด้วย ”
จากผลสำรวจ Philips Future Health Index (FHI) 2024 ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นเร่งด่ วนในการยกระดับด้านสาธารณสุขให้ ครอบคลุมความต้องการของผู้ป่ วยมากขึ้น โดยผลสำรวจพบว่า 71% ของผู้เชี่ยวชาญชั้ นนำในวงการสาธารณสุขในภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟิกบอกว่าความล่ าช้ากำลังเป็นปัญหาสำคั ญในวงการสาธาณสุข ไม่ว่าจะเป็นความล่าช้ าในการรอคิวนัดหมาย ความล่าช้าในการรอเพื่อเข้ารั บการรักษา หรือความล่าช้าและข้อจำกั ดในการเข้าถึงการตรวจคั ดกรองและวินิจฉัย ส่งผลให้ผู้เชี่ยวชาญชั้ นนำในวงการสาธารณสุขกำลังให้ ความสำคัญกับการนำระบบอัตโนมัติ ข้อมูลเชิงลึก และเทคโนโลยี AI เข้ามาใช้เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาดั งกล่าว ซึ่งโซลูชันส์สำหรับการดูแลรั กษาโรคหัวใจที่นำมาอั พเดทภายในงานฯ ครั้งนี้ ถือเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่จะมารั บมือกับปัญหาดังกล่าว
นายวิโรจน์ วิทยาเวโรจน์ ประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัท ฟิลิปส์ (ประเทศไทย) กล่าวว่า “โรคหัวใจเป็นสาเหตุการเสียชีวิ ตอันดับ 1 ของโลก ในสหรัฐอเมริกาทุกๆ 33 วินาที จะมีผู้เสียชีวิตจากโรคหั วใจและหลอดเลือด 1 คน [1] ในขณะที่ รายงานของกระทรวงสาธารณสุขพบว่ าประเทศไทยจะมีผู้เสียชีวิ ตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดเฉลี่ ยชั่วโมงละ 8 คน [2] ดังนั้น การตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหั วใจตั้งแต่เนิ่นๆ จะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ และเทคโนโลยีการตรวจวินิจฉั ยและการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย และการเข้าถึงระบบสาธารณสุขที่ มากขึ้นเป็นปัจจัยสำคั ญของกระบวนการดูแลรักษา โดยในการประชุมฯ ครั้งนี้ ฟิลิปส์ได้นำเสนอโซลูชันส์ด้ านตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือดให้ แก่บุคลากรทางการแพทย์ ในประเทศไทย ที่เน้นในด้านภาพคมชัด แสดงผลได้หลากหลายรูปแบบตามที่ แพทย์ต้องการ ลดการฉีดสารทึบสีเพื่ อความปลอดภัยของผู้ป่วยที่มากขึ้ น และยังมีเทคโนโลยีในการนำทางที่ ชัดเจนระหว่างการทำหัตถการ รวมถึงระบบการจัดเก็ บและประมวลผลข้อมูลแบบอัตโนมัติ ที่จะมาช่วยสนับสนุนการทำงานให้ กับุคลากรทางการแพทย์ให้การดู แลรักษามีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น เราหวังว่าฟิลิปส์จะเป็นส่วนหนึ่ งที่นำเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพเข้าสู่ ระบบสาธารณสุขไทย ให้คนไทยมีโอกาสเข้าถึ งระบบสาธารณสุขได้มากขึ้น ”
มิติใหม่ของการตรวจด้วยคลื่นเสี ยงสะท้อนหัวใจ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่ างครอบคลุม
อัลตร้าซาวด์หัวใจ หรือการตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้ อนหัวใจ (Echocardiography) มีบทบาทสำคัญในการตรวจวินิจฉั ยโรคหัวใจได้ตั้งแต่ระยะเริ่ มแรก สำหรับเทคโนโลยีการตรวจด้วยคลื่ นเสียงสะท้อนหัวใจล่าสุดจะเป็ นแบบ 3 มิติ ซึ่งทำงานร่วมกับโซลูชันส์ AI เพื่อให้ได้ภาพที่คมชั ดและสามารถวิเคราะห์ผลได้อย่ างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และยังสามารถเรียกดูผลตรวจ สร้างภาพและรายงานการตรวจซ้ำได้ ทั้งจากการสแกนโดยตรง หรือระหว่างผู้ใช้งาน นอกจากนี้ การนำเทคโนโลยี AI เข้ามาช่วยวิเคราะห์ และประมวลผลภาพจากอัลตร้าซาวด์ หัวใจ จะช่วยให้แพทย์มีความมั่ นใจในการวินิจฉัยโรคหัวใจ และสามารถระบุประเภทของโรคหั วใจได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลให้กระบวนการทำงานของแพทย์ รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
การจำลองภาพหัวใจ 3 มิติแบบเสมือนจริง ( Photorealistic 3D rendering ) ช่วยให้แพทย์โรคหัวใจเข้ าใจภาวะหัวใจของผู้ป่วยแต่ ละคนได้ง่ายและดีขึ้น โดยภาพ 3 มิติจะใช้สี แสง เงา และการไล่ระดับสี เพื่อแสดงภาพการไหลเวียนของเลื อดในหัวใจ และผู้ใช้งานสามารถปรับระดับได้ ตามต้องการในบริเวณที่ต้ องการตรวจดูเป็นพิเศษ หรือบริเวณที่พบความผิดปกติ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้ น ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงนี้ช่วยให้ การวินิจฉัยมีความแม่นยำ ประหยัดเวลา และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรั กษาได้
การสร้างภาพหัวใจจากเทคโนโลยีอั ลตร้าซาวด์มาทำงานร่วมกับโซลูชั นส์ของเครื่อง Image Guided Therapy นี้จะช่วยเพิ่มความมั่นใจให้กั บทีมแพทย์ในการทำหัตถการสำหรั บโรคหัวใจที่มีรูปร่างผิดปกติ (Structural Heart) เนื่องจากสามารถมองเห็นความผิ ดปกติของหัวใจและการไหลเวี ยนของเลือดได้ชัดเจน และโซลูชันส์ที่รวมเอาภาพจากอั ลตร้าซาวด์หัวใจมาเข้ากับการถ่ ายภาพเอ็กซเรย์แบบเรียลไทม์ไว้ ด้วยกันนี้ ยังช่วยแสดงผลภาพที่ชั ดเจนและรวดเร็วในการนำทางขณะที่ แพทย์ทำหัตถการที่ซับซ้อนได้ เพื่อความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้ นของของผู้ป่วย
ดร. คริส แอนโทนี แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านโรคหัวใจ Structural and Advanced Multimodality Imaging โรงพยาบาล The Alfred and Epworth ในเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย กล่าวว่า “การ จำลองภาพหัวใจเป็นรากฐานสำคั ญในการวินิจฉัยและการตัดสิ นใจทางคลินิกที่แม่นยำของการดู แลรักษาโรคหัวใจ เทคโนโลยีการสร้างภาพอัตโนมัติ จึงเข้ามาช่ วยลดกระบวนการทำงานและความเครี ยดให้กับทีมแพทย์ได้ เพราะช่วยเพิ่มความมั่นใจทางคลิ นิกและผลลัพธ์ที่ดีกว่าสำหรับผู้ ป่วย สำหรับเทคโนโลยีของฟิลิปส์ อย่าง 3D Multi-Planar Reconstruction และ Echo Navigator จะมาช่วยให้การรักษาโรคหัวใจรู ปร่างผิดปกติก้าวหน้าไปอีกขั้น และสร้างมาตรฐานการดูแลรั กษาแบบที่ไม่เคยมีมาก่อนให้แก่ ผู้ป่วยของเราได้ ”
การผ่าตัดแบบแผลเล็กที่ดีกว่ าเดิมเพื่อผู้ป่วยโรคหั วใจและหลอดเลือด
สำหรับการผ่าตัดโรคหลอดเลือดหั วใจตีบ (CAD) ในผู้ป่วยที่มีโรคไตเรื้อรังร่ วมด้วย โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ ปัจจุบันสามารถใช้โซลูชันส์แบบ ultra-low contrast percutaneous coronary intervention (ULC-PCI) หรือการฉีดสารทึบสีที่น้อยลงได้ แล้ว โซลูชันส์นี้มาพร้อมกับเครื่อง Image Guided Therapy System ของฟิลิปส์ การลดการฉีดสารทึบรังสีในระหว่ างกระบวนการสวนหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิ ดภาวะไตวายเฉียบพลันในผู้ป่ วยได้ ทำให้ศัลยแพทย์ยังคงได้ภาพที่ชั ดเจนแต่ใช้สารทึบสีน้อยลง แพทย์จึงสามารถผ่าตัดได้อย่างมั่ นใจ และเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ป่ วยที่เข้ารับการผ่าตัดหลอดเลื อดหัวใจได้มากขึ้น
การประเมินความพร้อมของผู้ป่ วยในการผ่าตัดหลอดเลือดหัวใจ แพทย์จะต้องทำการวัดความดั นของผู้ป่วยเพิ่มเติม หากย้อนไปเมื่อ 10 ปีที่แล้วการตรวจวัดความดันนี้ จำเป็นต้องฉีดยา แต่ในปัจจุบัน ด้วยการวัดค่าความดันโลหิ ตในหลอดเลือดหัวใจแบบ iFR (Instantaneous Wave Free Ratio) เป็นทางเลือกที่ได้รับการพิสู จน์แล้วว่าสามารถทดแทนการฉี ดยาได้ จึงทำให้กระบวนการผ่าตัดหลอดเลื อดหัวใจรวดเร็วมากขึ้น ค่าใช้จ่ายน้อยลง และช่วยลดความเจ็บปวดของผู้ป่ วยลงมากกว่า 95%[3]
หลังจากการนำ iFR มาใช้ ฟิลิปส์ได้มีส่วนร่วมในการพั ฒนาสาขาวิชาสรีรวิทยาของหลอดเลื อดหัวใจและกำหนดกระบวนการใหม่ โดยได้นำเสนอเทคโนโลยีเสริมอย่ าง iFR Co-registration ในงานฯ ครั้งนี้ ด้วยการแสดงผลค่า iFR บนภาพหลอดเลือดจะช่วยให้แพทย์ สามารถเห็นการไหลเวี ยนของหลอดเลือดหัวใจ ทำให้แพทย์ได้รับข้อมูลที่ชั ดเจนและรวดเร็วมากขึ้น
ดร.จาเวียร์ เอสคาเนด Head Interventional Cardiology Section โรงพยาบาล Clinico San Carlos IDISSC ในกรุงมาดริด ประเทศสเปน ได้กล่าวถึงความโดดเด่ นของเทคโนโลยี iFR ว่า “การมาถึงของ iFR ได้เปลี่ยนแปลงภาพรวมของสรีรวิ ทยาหลอดเลือดหัวใจในทางคลินิก การพัฒนาต่างๆ เช่น การวิเคราะห์หลอดเลือดตามยาว (iFR Scout) และ iFR co-registration ร่วมกับการทำภาพหลอดเลือดได้มี ส่วนช่ วยในการวางแผนและแนวทางการผ่าตั ดสวนหลอดเลือดหัวใจรูปแบบใหม่ทั้ งหมด เพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพและความปลอดภัยในการรั กษาหลอดเลือดหัวใจให้ดีขึ้น ”
# # # #