คนไทยเกินครึ่งอาจถูกล้วงข้อมู ลในคอมพิวเตอร์
เพราะดูซอฟต์แวร์เถื่อนไม่เป็น
น่าห่วงกลุ่มนักศึกษาดูซอฟต์ แวร์เถื่อนเป็น เพียงร้อยละ 30.86
เปิดช่องให้มิจฉาชีพเข้าถึงข้ อมูลส่วนตัวออนไลน์ได้
?
ประเด็นข่าว:
????????สวนดุสิตโพล และ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด จัดทำการสำรวจทัศนคติเจาะลึกกลุ ่มผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติต่อซอฟต์แวร์ละเมิดลิ ขสิทธิ์
????????ผลสำรวจเผยว่า กลุ่มตัวอย่างจำนวนเกินกว่าครึ่ ง?(ร้อยละ?55.67)?ไม่ทราบวิธีการตรวจสอบซอฟต์แวร์ ละเมิดลิขสิทธิ์ โดยผู้ที่มีความเข้ าใจและตรวจสอบซอฟต์แวร์เป็นน้ อยที่สุดกลับเป็นกลุ่มนักศึกษา ซึ่งมีเพียงร้อยละ 30.86 เท่านั้นที่ตรวจสอบเป็น
????????ร้อยละ 73 ของกลุ่มตัวอย่าง ทราบว่าซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ ์ มีช่องโหว่ที่เปิดโอกาสให้ผู้ ไม่หวังดี เข้าถึงข้อมูลส่วนตัวในเครื่ องคอมพิวเตอร์ รวมถึงรูปภาพ และคลิปวิดีโอได้ แต่ร้อยละ 25.28 ของกลุ่มตัวอย่าง ยังคงยอมเสี่ยงใช้งาน เพราะหาซื้อได้ง่ายกว่า
????????1 ใน 4 ของกลุ่มตัวอย่างอายุ 26-30 ปี เลือกที่จะซื้อเครื่องเปล่าแล้ วให้พนักงานในร้านลงซอฟต์แวร์ ให้ในราคาถูก โดยอาจไม่ทราบว่าเป็นการปล่ อยให้เครื่องโดนติดตั้งซอฟต์ แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์
????????กลุ่มตัวอย่างเชื่อว่า การได้รับความรู้ความเข้ าใจมากขึ้น และการหาซื้อซอฟต์แวร์ถู กกฎหมายได้ง่ายขึ้นจะช่วยลดอั ตราการใช้ซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิ ทธิ์ และลดความเสี่ยงที่จะตกเป็นเหยื ่ออาชญากรรมออนไลน์ของผู้บริ โภคชาวไทยได้
????????ไมโครซอฟท์ มอบความสะดวกสบายและคุ้มค่าให้ กับผู้ใช้งานอีกขั้นด้วยบริการ?Office?365 โดยไม่ต้องหาซื้อแผ่น และจ่ายเท่าที่ต้องการใช้งานเท่ านั้น
ผลสำรวจล่าสุดจากสวนดุสิตโพล ร่วมกับ ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) เผยว่า ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ชาวไทย มีความรู้ความเข้ าใจในการตรวจสอบซอฟต์แวร์เถื่ อนอยู่ในระดับต่ำ โดย ร้อยละ?55.67?ของกลุ่มตัวอย่าง ไม่ทราบวิธีการตรวจสอบซอฟต์แวร์ ละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งถือเป็นเรื่องน่าเป็นห่ วงเนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้ เหล่าอาชญากร ใช้ประโยชน์จากช่องโหว่ ของระบบความปลอดภัย และมัลแวร์ที่มักจะมากับซอฟต์ แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ เพื่อขโมยข้อมูลในเครื่อง หรือ ดักจับรหัสการใช้งานเพื่อแอบอ้ างเข้าทำธุรกรรมออนไลน์ ทางการเงิน สร้างความเสียหายต่อทั้งผู้ใช้ งานทั่วไป และองค์กรธุรกิจ
ผลการสำรวจดังกล่าวมีชื่อว่า??ทัศนคติ และความรู้ความเข้ าใจในการตรวจสอบซอฟต์แวร์ละเมิ ดลิขสิทธิ์ ของผู้ใช้งานชาวไทย??โดยกลุ่มตัวอย่างมีทั้งผู้ที่ กำลังจะซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ตั้งโต๊ะ หรือ โน๊ตบุ๊คเครื่องแรก และกำลังจะเปลี่ยนเครื่องใหม่ โดยในภาพรวม กลุ่มตัวอย่างจำนวนเพียงไม่ถึ งครึ่ง (ร้อยละ 44.33) ที่ตรวจสอบเรื่องดังกล่าวเป็น เช่น ดูออกว่ากล่องของซีดีหรือ ดีวีดีต้องมีการแพ็คซีลมาอย่ างเรียบร้อย มีฉลากรับรองผลิตภัณฑ์ ตัวหนังสือบนกล่องสะกดถูกต้อง??ไม่ใช่เป็นซองพลาสติ กใสวางขายตามแหล่งน่าสงสัย แต่เมื่อแยกตามกลุ่มอาชีพแล้ว พบว่า กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือกลุ่มนั กเรียนและนักศึกษา ซึ่งกลับเป็นกลุ่มที่มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจสอบซอฟต์ แวร์น้อยที่สุดเพียงร้อยละ 30.86 เท่านั้น ต่ำกว่ากลุ่มอาชีพค้าขายซึ่งมี จำนวนร้อยละ 37.93 ส่วนพนักงานบริษัทที่ตรวจสอบเป็ นมีจำนวนร้อยละ 51.56
ในยุคสมัยที่หลายคนใช้ชีวิ ตออนไลน์ และ ใช้อินเทอร์เน็ตเป็นช่ องทางการติดต่อ ย่อมหลีกเลี่ยงไม่ได้ ที่ในหลายๆ ครั้ง มีการเก็บข้อมูลส่วนตัว เช่น ภาพถ่าย คลิปวิดีโอ เอกสารสำคญต่างๆ ไว้ในเครื่อง หรือบางคนเก็บไว้กับบริการรั บฝากไฟล์ออนไลน์?(Cloud)?การปกป้องความเป็นส่วนตัวนั้น นับเป็นเรื่องสำคัญ เพราะว่าหากมีการลักลอบเข้าระบบ ผู้ไม่หวังดีสามารถเข้าถึงข้อมู ลสำคัญได้ ระบบความปลอดภัยของเครื่องที่ ใช้ซอฟต์แวร์เถื่อนนั้น จะถูกจำกัดลงอย่างมากเนื่ องจากซอฟต์แวร์เถื่อน มักจะมีมัลแวร์ติดมาด้วย และในเมืองไทยเอง เครื่องที่ใช้งานซอฟต์แวร์เถื่ อนนั้นติดมัลแวร์มากถึงร้อยละ 84*
?ผู้ใช้งานต้องมองเรื่ องความปลอดภัยให้รอบด้าน เพราะว่าโลกทุกวันนี้เชื่อมต่ อถึงกันหมดด้วยเครือข่าย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ มหาศาล แต่ขณะเดียวกันก็ยังมีกลุ่มผู้ ที่จ้องจะใช้ประโยชน์จากช่ องโหว่ของระบบความปลอดภั ยในซอฟต์แวร์เถื่อน เพื่อเข้าถึงและนำข้อมูลส่วนตั วของผู้ใช้งานไปใช้ประโยชน์ ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายได้ มากทีเดียว เพราะว่าหลายคนยังไม่ตระหนักถึ งความสำคัญของข้อมูลส่วนบุ คคลในแง่สิทธิในความเป็นส่วนตัว และไม่ได้มองว่าข้อมูลส่วนตัวนั ้น เป็นสิ่งที่ต้องได้รับการปกป้ องเช่นเดียวกับสินทรัพย์อื่นๆ จึงประมาทในการใช้งาน ซึ่งเมื่อตกเป็นเหยื่อแล้ว ความเสียหายอาจจะไม่ใช่เพียงแค่ เรื่องเงินหรือมูลค่าทางทรัพย์ สินเท่านั้น แต่บางครั้งอาจทำให้เสียชื่อเสี ยงด้วย ซึ่งไม่สามารถเรียกกลับคืนได้ เลย??ดร.นคร เสรีรักษ์ ผู้ก่อตั้งPrivacy Thailand?ที่ปรึกษานโยบาย เครือข่ายพลเมืองเน็ต และ นักวิชาการอิสระด้าน?Freedom of Information?and Privacy Protection?กล่าว
?
นับเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่กลุ ่มตัวอย่างร้อยละ 73 ทราบดีว่าซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิ ทธิ์มักจะมีมัลแวร์ ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ไม่ประสงค์ ดี รวมถึงอาชญากรคอมพิวเตอร์เข้าถึ งข้อมูลส่วนตัวที่เก็บไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพ คลิปวิดีโอ หรือไฟล์เอกสารสำคัญ อย่างไรก็ตาม ยังมีกลุ่มตัวอย่างอีกจำนวนหนึ่ งยอมเสี่ยงที่จะเจอเหตุการณ์ดั งกล่าว โดยแลกกับความสะดวกเพียงเล็กน้ อย โดยร้อยละ 25.28 ให้เหตุผลว่าซอฟต์แวร์ละเมิดลิ ขสิทธิ์หาซื้อได้ง่ายกว่า และมีกลุ่มตัวอย่างอายุ 26-30 ปี จำนวนถึง 1 ใน 4 ที่ตอบว่าเมื่อซื้อเครื่องคอมพิ วเตอร์เปล่าต้องการให้พนั กงานลงโปรแกรมให้เลยเพื่ อความสะดวกสบาย ซึ่งเป็นการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่า ตนกำลังปล่อยให้เครื่องโดนติดตั ้งซอฟต์แวร์ละเมิดลิขสิทธิ์ โดยไม่ได้ตั้งใจ และอาจนำภัยมาสู่ตัวเองได้ โดยไม่รู้
?ด้วยวิสัยทัศน์??We Make?70?Million Lives Better??ของเรา ไมโครซอฟท์มุ่งมั่นในการปกป้ องและให้ความรู้แก่ผู้บริโภคเพื ่อให้ระวังตัวจากการดาวน์ โหลดหรือซื้อซอฟต์แวร์เถื่อน เพราะว่าเป็นสาเหตุสำคัญที่ ทำให้ติดมัลแวร์ และนำไปสู่การขโมยข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลสูญหาย และระบบล่มได้???ตัวเลขการสำรวจดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าผู้บริ โภคชาวไทยส่วนใหญ่ มีความเข้าใจถึงอันตรายอยู่บ้าง แต่ยังยอมเสี่ยงโดยแลกกั บความสะดวกสบายในการหาซื้อ และคิดว่าอันตรายเหล่านั้นจะไม่ เกิดกับตัวเอง แต่ในฐานะที่เราเป็นผู้จัดตั้ งศูนย์ป้องกันภั ยจากอาชญากรรมไซเบอร์ ของไมโครซอฟท์ หรือ?Microsoft Cybercrime Center?ขึ้นมา เราสามารถบอกได้ว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ มีการโจมตีโดยอาชญากรไซเบอร์ โดยอาศัยช่องโหว่ของซอฟต์แวร์ เถื่อนสูงมาก??นายฮาเรซ คูบจันดานิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด กล่าว?
กลุ่มตัวอย่างจำนวนร้อยละ 31.03 ระบุว่า การแก้ปัญหาการใช้งานซอฟต์แวร์ เถื่อนนั้น ควรจะแก้ด้วยการให้ข้อมูลและปลู กจิตสำนึก เพื่อทำให้ผู้ใช้งานมีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้น และร้อยละ 27.49 ระบุว่าควรจะทำให้ซอฟต์แวร์ถู กลิขสิทธิ์มีวางจำหน่ายกว้ างขวาง และหาซื้อง่ายกว่านี้??ความเห็นดังกล่าวสอดคล้องกับทิ ศทางของไมโครซอฟท์ในการทำให้ผู้ บริโภคสามารถใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยี ได้อย่างปลอดภัยที่สุด และเข้าถึงสินค้าลิขสิทธิ์ได้ง่ าย โดยปัจจุบันไมโครซอฟท์มีบริการ?Office 365?ซึ่งผู้ใช้งานสามารถดาวน์โหลดชุ ดโปรแกรม?Microsoft Office?จากไมโครซอฟท์มาใช้ งานและชำระเงินผ่านหน้าเว็บได้ เลย และยังเลือกชำระเป็นรายปี หรือรายเดือน เพื่อทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ ายในช่วงที่ไม่จำเป็นต้องใช้ งานอีกด้วย และเมื่อผู้ใช้งานใช้ซอฟต์แวร์ ของแท้ ก็สามารถมั่นใจได้ว่า จะไม่มีความเสี่ยงที่จะติดมั ลแวร์ที่มักจะมากับซอฟต์แวร์เถื ่อนแน่นอน
ไม่ว่าจะเป็นผู้ใช้งานทั่วไป ธุรกิจรายย่อย สถานประกอบการ หรือองค์กรของรัฐบาล ทั้งหมดนี้ควรจะเลือกซื้อคอมพิ วเตอร์เครื่องใหม่จากแหล่งที่ เชื่อถือได้ เพื่อให้มั่นใจว่าจะได้ซอฟต์ แวร์ของเพื่อหลีกเลี่ยงมัลแวร์ ที่นำไปสู่อันตรายในการใช้งาน โดยลูกค้าควรเข้าไปศึกษาข้อมู ลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมัลแวร์ที่h ttp://www.microsoft.com/ security ?เพื่อให้มั่นใจว่ าคอมพิวเตอร์ของตนไม่ติดมัลแวร์ และหากพบว่าเครื่องของคุณมีมั ลแวร์ ทางเว็บไซต์ก็มีเครื่องมื อในการกำจัด
*จากผลการศึกษา??The Link Between Pirated Software and Cybersecurity Breaches:
? How Malware in Pirated Software Is Costing the World Billions? ?โดย?IDC?และ?NUS?ปี 2557