Hardware Monitor
อุณหภูมิแวดล้อมขณะทดสอบประมาณ 34-35 องศาเซลเซียส
อุณหภูมิก่อน Burn-in
วิธีทดสอบ : ขั้นแรกจะเป็นการทดสอบโดยการเปิดใช้งานเครื่องทั่วไป เช่น เล่นอินเตอร์เน็ต พิมพ์งาน
Burn-in CPU
อุณหภูมิหลัง Burn-in
หลายๆ คนคงเป็นห่วงกับปัญหาความร้อนเก่าๆ เดิมๆ ของซีพียู AMD แต่ผมขอบอกเลยว่าเดี๋ยวนี้ AMD เค้าพัฒนาแล้ว ซีพียูไม่ได้ร้อนเหมือนเมื่อก่อน ตอนนี้อุณหภูมิใกล้เคียงกับ Intel มากๆ และยังเย็นกว่า Intel บางรุ่นด้วยซ้ำ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เป็นผลอันเนื่องมาจากค่ายผู้ผลิตเองด้วยที่ออกแบบที่ระบายความร้อนออกมาได้ดี ความร้อนสูงสุดของเจ้า Fujitsu Lifebook LH520 จึงอยู่ที่ระดับพอรับได้ไม่เกิน 80 องศาเซลเซียส
ทดสอบเวลาในการใช้งานแบตเตอรี่
แบบที่ 1 ใช้งานทั่วไป
วิธีทดสอบ : ทดสอบใช้งานทั่วๆ ไป เช่น พิมพ์งาน เล่นอินเตอร์เน็ตผ่าน Wireless โดยปรับความสว่างของจอภาพสว่างสุดจนแบตเตอรี่เหลือประมาณ 19%
แบบที่ 2 ใช้งานหนักๆ
วิธีทดสอบ : ทดสอบใช้งานหนักๆ โดยการชมภาพยนตร์ความละเอียดสูง โดยปรับความสว่างของจอภาพสว่างสุด และเปิดลำโพงในระดับสูงสุดจนแบตเตอรี่เหลือประมาณ 7%
เวลาในการชาร์จแบตเตอรี่
วิธีทดสอบ : ทดสอบโดยการชาร์จแบตเตอรี่พร้อมกับเปิดใช้งานเครื่องตั้งแต่ 13% จนถึง 73%
กราฟสรุปการใช้พลังงานแบตเตอรี่ของ Fujitsu Lifebook LH520